กฤดา, กฤดาการ หมายถึง [กฺริดา, กฺริดากาน] (โบ; กลอน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น. (พงศ.อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ. (เสภาสุนทรภู่).
ดู กฤด-.
ดู กฤด-.
ดู กฤด-.
[กฺริดา-] น. ชื่อยุคแรกของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้มนุษย์มีธรรมะสูงสุด คือ เต็ม ๔ ใน ๔ ส่วน และมีอายุยืนยาวที่สุด. (ส. กฺฤตยุค). (ดู จตุรยุค).
[กฺริ-] (โบ; กลอน) แยกคําจาก กฤดาญชลี เช่น ขอถวายกฤดาอัญ-ชลีโอนศิโรจร. (ตําราช้างคําฉันท์).
[กฺริดดิ] (โบ; กลอน) น. เกียรติ เช่น วรกฤดิโอฬาร.(ชุมนุมตํารากลอน). (ส. กีรฺติ; ป. กิตฺติ).
[กฺริ-, กฺริดตะยะ-] แผลงมาจาก กติกา เช่น อันว่าความกฤดีกาแต่สองราแรกทรงพรต. (ม. คําหลวง กุมาร), ชําระกฤตยฎีกา.(ไวพจน์พิจารณ์).